ในเมืองไทยสมัยก่อน มากกว่า 10 ปีมาแล้ว
การวิเคราะห์ฮวงจุ้ย จะเน้นหนักที่ชัยภูมิเพียงอย่างเดียว
ในส่วนของด้านการกำหนดตำแหน่ง จะใช้วิชา 8 ทิศ หรือ 4 เก๊ก เป็นหลัก
( ซึ่งตามระบบ 8 ทิศที่แท้จริงต้องเป็นระบบนับกะ และต้องแบ่งออกเป็น 8 ทิศระบบอาคาร และแบบบุคคล )
มีเพียงชมรมภูมิโหราศาสตร์ที่มีการกำหนดอย่างชัดเจนว่า
การวิเคราะห์ฮวงจุ้ย ต้องใช้ 4 วิชาหลักร่วมกัน
ชัยภูมิ
ทิศทาง ( ดาว 9 ยุค )
ดวงชะตา ( ดวงจีน )
ฤดูกาล ( ฤกษ์ยาม )
ต่อไปนี้ เป็นการวิเคราะห์ฮวงจุ้ย ตามแบบฉบับ ท่านอาจารย์เกรียงไกร
ซินแสทั่วไปจะวัดด้วยล่อแกที่ประตูบ้าน หรือในบ้าน
กล่าวคือไม่เน้นเรื่องความแม่นยำของการวัดองศาที่ปลอดจากสิ่งรบกวน เช่น เหล็ก แม่เเหล็กใน TV วิทยุ
แต่ท่านอาจารย์จะเน้นเรื่องนี้มาก จะหาตำแหน่งที่ปลอดเหล็กจริง ๆ แล้วจึงวัด
บ่อยครั้งที่ต้องลงน้ำ เข้าสวน ยืมลานบ้านของเพื่อนบ้านเพื่อวัดองศา
ปัจจุบันมีจานวัดแสงอาทิตย์ ทำให้การทำงานง่ายขึ้นมาก
โดยเริ่มจัดทำต้นแบบปลายปี 44 และจัดทำเป็นอุปกรณ์การศึกษา ในงานไหว้ครู กลางปี 2545
สมัยก่อนวิชา 8 ทิศ และ 4 เก๊ก ดังมาก จะเป็นวิชาหลักในสมัยนั้น
แทบไม่มีคนใช้วิชาดาว 9 ยุคเลย มีเพียงซินแสอีกท่าน คือ อาจารย์หลินสุ่ยหยวน
ซึ่งเป็นผู้นำฉบับที่พิมพ์ในท้องตลาดปัจจุบันมาเผยแพร่
( แต่วิชาดาว 9 ยุคตัวเอียง จะไม่ตรงกัน )
ท่านอาจารย์ได้ใช้วิชาดาว 9 ยุคมาตั้งแต่แรก และขั้นตอนมีดังนี้
วัดองศา พิจารณายุคสร้าง
คำนวณผังดาว สมัยก่อนคำนวณด้วยมือทุกขั้นตอน
กำหนดตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธาน ประตู เตาไฟ
การวิเคราะห์ฮวงจุ้ย จะเน้นหนักที่ชัยภูมิเพียงอย่างเดียว
ในส่วนของด้านการกำหนดตำแหน่ง จะใช้วิชา 8 ทิศ หรือ 4 เก๊ก เป็นหลัก
( ซึ่งตามระบบ 8 ทิศที่แท้จริงต้องเป็นระบบนับกะ และต้องแบ่งออกเป็น 8 ทิศระบบอาคาร และแบบบุคคล )
มีเพียงชมรมภูมิโหราศาสตร์ที่มีการกำหนดอย่างชัดเจนว่า
การวิเคราะห์ฮวงจุ้ย ต้องใช้ 4 วิชาหลักร่วมกัน
ชัยภูมิ
ทิศทาง ( ดาว 9 ยุค )
ดวงชะตา ( ดวงจีน )
ฤดูกาล ( ฤกษ์ยาม )
ต่อไปนี้ เป็นการวิเคราะห์ฮวงจุ้ย ตามแบบฉบับ ท่านอาจารย์เกรียงไกร
ซินแสทั่วไปจะวัดด้วยล่อแกที่ประตูบ้าน หรือในบ้าน
กล่าวคือไม่เน้นเรื่องความแม่นยำของการวัดองศาที่ปลอดจากสิ่งรบกวน เช่น เหล็ก แม่เเหล็กใน TV วิทยุ
แต่ท่านอาจารย์จะเน้นเรื่องนี้มาก จะหาตำแหน่งที่ปลอดเหล็กจริง ๆ แล้วจึงวัด
บ่อยครั้งที่ต้องลงน้ำ เข้าสวน ยืมลานบ้านของเพื่อนบ้านเพื่อวัดองศา
ปัจจุบันมีจานวัดแสงอาทิตย์ ทำให้การทำงานง่ายขึ้นมาก
โดยเริ่มจัดทำต้นแบบปลายปี 44 และจัดทำเป็นอุปกรณ์การศึกษา ในงานไหว้ครู กลางปี 2545
สมัยก่อนวิชา 8 ทิศ และ 4 เก๊ก ดังมาก จะเป็นวิชาหลักในสมัยนั้น
แทบไม่มีคนใช้วิชาดาว 9 ยุคเลย มีเพียงซินแสอีกท่าน คือ อาจารย์หลินสุ่ยหยวน
ซึ่งเป็นผู้นำฉบับที่พิมพ์ในท้องตลาดปัจจุบันมาเผยแพร่
( แต่วิชาดาว 9 ยุคตัวเอียง จะไม่ตรงกัน )
ท่านอาจารย์ได้ใช้วิชาดาว 9 ยุคมาตั้งแต่แรก และขั้นตอนมีดังนี้
วัดองศา พิจารณายุคสร้าง
คำนวณผังดาว สมัยก่อนคำนวณด้วยมือทุกขั้นตอน
กำหนดตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธาน ประตู เตาไฟ
Show More